วันจันทร์ที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2553

เล่นน้ำเพลินๆ เดินโต๋เต๋ริมทะเล อ่าวมะนาว




หากคุณกำลังมองหาสถานที่ท่องเที่ยวบรรยากาศดีๆ ที่มีธรรมชาติสวยงามร่มรื่น เราขอแนะนำให้รู้จักกับ "อ่าวมะนาว" หาดทรายสวยๆ น้ำทะเลใสๆ อยู่ไม่ไกลจากกรุงเทพฯ นี่เอง …
อ่าวมะนาว อยู่ในเขตกองบิน 53 กองทัพอากาศ ต.เกาะหลัก อ.เมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นหาดสะอาด มีธรรมชาติสวยงาม เหมาะแก่การเล่นน้ำเพราะทะเลไม่ลึก หรือจะเดินเล่นริมชายหาดกินลมชมวิวก็ไม่มีใครว่า ตรงข้ามกับหาดเป็นเขาล้อมหมวก ยามน้ำลดจะปรากฏสันทรายทอดยาวให้เดินไปเที่ยวชมได้ บนยอดเขาล้อมหมวกประดิษฐานพระพุทธบาทจำลอง เชิงเขามีศาลเจ้าพ่อเขาล้อมหมวกและเป็นที่ตั้งของเขตอนุรักษ์พันธุ์ค่างแว่น นอกจากนี้ "อ่าวมะนาว" ยังเคยเป็นยุทธภูมิในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ระหว่างกองทัพไทยและกองทัพญี่ปุ่น
ปัจจุบันภายในกองบินจะเห็น "อนุสาวรีย์วีรชน" รูปทหารอากาศในชุดนักบินยืนอยู่บนใบพัดเครื่องบิน ถือธงหันหน้าออกทะเล และยังมี "อุทยานประวัติศาสตร์กองบิน 53" โดยจะเห็นแท่งหินขนาดใหญ่แกะสลักจำลองฉากการต่อสู้ระหว่างกองทัพไทยกับญี่ปุ่น ทั้งนี้ บริเวณอ่าวมะนาวทุกปีจะมีการจัดงานวันรำลึกวีรกรรม 8 ธันวาคม 2484 นักท่องเที่ยวสามารถเข้าไปพักผ่อนและเล่นน้ำที่ชายหาดได้ตลอด เพราะมีร้านอาหาร สโมสร และบ้านพักไว้คอยบริการหลายแบบ ทั้งแบบทาวเฮาส์ คอนโดมิเนียม

วันอังคารที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2553

La Sainte-Chapelle





La Sainte-Chapelle est une chapelle qui fut édifiée sur l’île de la Cité, à Paris, à la demande de Saint Louis afin d’abriter la Sainte Couronne, un morceau de la Sainte Croix ainsi que diverses autres reliques de la Passion qu’il avait acquises.
Avec la
Conciergerie, c’est l’un des anciens vestiges du palais de la Cité qui s’étendait sur le site couvrant l’actuel Palais de Justice.
La Sainte-Chapelle est gérée par le
Centre des monuments nationaux auquel elle a été attribuée à titre de dotation par un arrêté du 2 avril 2008.
En moyenne, quelque 800 000 visiteurs de plus de 40 nationalités différentes visitent chaque année ce monument
gothique rayonnant.
Architecture
Les plans sont probablement dus à Pierre de Montreuil qui l’édifia en un temps record : de 1242 à 1248.
Ce bâtiment est considéré comme un chef-d’œuvre de l’
art gothique, certains auteurs estimant même qu’il marque l’apogée de cet art.
Conçue comme une
châsse précieuse devant mettre en valeur les reliques y étant conservées, la Sainte-Chapelle, édifiée dans le palais royal de l'île de la Cité, devait également servir de chapelle royale. Elle superpose deux chapelles, l’inférieure pour les gens du commun, la supérieure pour l’entourage du roi, selon un usage courant dans la construction des palais royaux du Moyen Âge. Dans les premiers temps, la chapelle haute n’était d’ailleurs accessible que par les galeries supérieures du palais, Saint Louis n’ayant pas fait construire d’escalier public.
Pour sa construction, Pierre de Montreuil apporta une véritable innovation technique, le
chaînage métallique, très en avance pour l'époque puisqu’il ne fut redécouvert qu’au XXe siècle.
À l'origine, un petit bâtiment annexe avait été élevé près de l’
abside. Le niveau inférieur servait de sacristie tandis que la pièce située au niveau de la chapelle haute accueillait les actes et les sceaux royaux. Cette annexe a disparu en 1777, lors de la reconstruction de la grande cour.
Au faîte de la toiture se trouve une statue de l’
archange Michel.
Chapelle basse
La chapelle basse, dédiée à la Vierge, était accessible aux gens de service et sert de socle à la chapelle haute. Basse de plafond, bordée de piliers massifs supportant tout le poids de l'édifice, elle n’existe que pour son utilité fonctionnelle et architecturale : permettre d’alléger au maximum la construction en supportant tout le poids de la chapelle haute.
Chapelle haute
Les murs de la chapelle haute sont totalement supprimés et remplacés par de larges baies laissant passer la lumière, seulement séparées par de minces faisceaux de piliers. Les vitraux représentent des scènes religieuses ; celles-ci ont été choisies en fonction de la place occupée par les personnages royaux au cours des offices, les vitraux évoquant le roi David ou le roi Salomon étant placés près du roi.
Les vitraux constituent un ensemble homogène, dont les dominantes rouge et bleue donnent à cette chapelle son éclat.
Les fenêtres de la nef, hautes de 15,35 m et larges de 4,70 m, sont divisées en quatre
lancettes et surmontées d’une rose à six lobes et deux quadrilobes (éléments en forme de trèfle à quatre feuilles). Les fenêtres de l’abside, d’une hauteur de 13,45 m et d’une largeur de 2,10 m, ne comportent que deux lancettes et trois trilobes (éléments en forme de trèfle).

วันจันทร์ที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2553

22 มีนา วันน้ำโลก


จากการที่น้ำจืดของโลกขาดแคลนมากขึ้น ในปี พ.ศ.2535 สมัชชาสหประชาชาติ ได้ประกาศให้วันที่ 22 มีนาคม ของทุกปีเป็น “วันน้ำของโลก” หรือ “World Day for Water” โดยเริ่มต้นในปี 2536 เป็นปีแรก และชักชวนให้ประเทศต่างรับเป็นวันสิ่งแวดล้อมของชาติ เพื่อระลึกถึงความสำคัญของน้ำ ซึ่งเป็นความต้องการขั้นพื้นฐาน ของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดในโลก อีกทั้งกระตุ้นให้เกิดการตื่นตัวในหมู่มวลมนุษยชาติในเรื่องการอนุรักษ์น้ำ ช่วยกันดูแล บำรุงรักษา การพัฒนาแหล่งน้ำ และจัดการทรัพยากรน้ำจืดอย่างยั่งยืนสำหรับอนาคต ตลอดจนดำเนินการตามข้อเสนอแนะของที่ประชุมสหประชาชาติปี2535ว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา หรือที่เรียกกันว่า Agenda 21
มีการจัดกิจกรรมการประชุมระหว่างประเทศว่าด้วยเรื่องน้ำของโลกขึ้นที่ประเทศต่างๆ ดังนี้
ครั้งที่ 1: ปี 2540 ณ ประเทศโมร็อกโก
ครั้งที่ 2: ปี 2543 ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์
ครั้งที่ 3: ปี 2546 ณ ประเทศญี่ปุ่น
การใช้ทรัพยากรน้ำอย่างไม่รับผิดชอบทำให้การไหลเวียนของแม่น้ำหยุดชะงักลง ระดับน้ำในแม่น้ำและน้ำใต้ดินลดลงอย่างต่อเนื่อง พื้นที่ลุ่มดินเปียกหายไป สภาพปนเปื้อนพิษจากมลพิษต่างๆทำให้คุณภาพน้ำลดลง จำนวนน้ำสะอาดก็ลดลงเช่นกัน นอกจากนี้การขยายตัวอย่างรวดเร็วของประชากรโลกก็มีส่วนทำให้จำนวนน้ำจืดสำหรับใช้ในรายบุคคลลดลงอย่างต่อเนื่องเช่นกัน ที่น่าเป็นห่วงคือ น้ำที่ปนเปื้อนมลพิษและขาดสุขลักษณะ เป็นสาเหตุทำให้เด็กทารก ในเอเชียและแปซิฟิกเสียชีวิตกว่าปีละ 5 แสนคน นอกจากนี้สถิติของสหประชาชาติเมื่อสิ้นปี2542 พบว่ามีประชากรโลกราว 2,400ล้านคน ไม่ได้รับความสะดวกสบายจากระบบสุขอนามัยเกี่ยวกับน้ำที่ทันสมัย หน่วยงานของสหประชาชาติได้เสนอแนะทางออกในปัญหานี้หลายข้อ อาทิ การอนุรักษ์น้ำ , การบำบัดน้ำเสีย , การปรับเปลี่ยนหมุนเวียนนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ , การจัดการเรื่องน้ำและดินให้เหมาะสม , การทำวิจัยแหล่งทรัพยากรที่มีอยู่ , ออกกฎหมายการใช้น้ำที่ทันสมัย , การจัดสรรน้ำอย่างเสมอภาค และการปลุกจิตสำนึกในหมู่ประชาชนให้ตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของน้ำ ยิ่งกว่านั้น การแก้ปัญหาเรื่องน้ำยังต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่ายไม่ว่าจะเป็น ตัวบุคคล , องค์กร , อาสาสมัคร , ภาคอุตสาหกรรม , รัฐบาลท้องถิ่น , รัฐบาลกลาง ตลอดจน องค์กรระหว่างประเทศ ซึ่งความร่วมมือระหว่างประเทศนี้เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง
และในการประชุมครั้งที่ 3 ณ ประเทศญี่ปุ่น ประเทศไทยได้เป็นส่วนหนึ่งที่จะเข้าร่วมการประชุมดังกล่าวร่วมกับประเทศอื่น ๆ อีกประมาณ 200 ประเทศ
การประชุมครั้งนี้ รัฐบาลไทยจะมีส่วนร่วมที่สำคัญในการประชุม 3 ประการได้แก่
1. การเสนอรายงานโครงการประเมินสถานการณ์น้ำของโลกในส่วนของประเทศไทยกรณี ศึกษาการพัฒนาและบริหารลุ่มน้ำเจ้าพระยา
2. การเสนอแผนปฏิบัติการทรัพยากรน้ำ ของประเทศไทย
3. การประชุมและจัดทำแถลงการณ์ร่วมระดับรัฐมนตรี

วันอาทิตย์ที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2553

Devise (phrase)



Une devise est une phrase courte ou une expression symbolique décrivant les motivations ou les intentions d'un individu, d'un groupe social, d'une organisation ou d'une institution, qu'il a choisi pour suggérer un idéal, comme règle de conduite ou pour rappeler un passé glorieux.
En
héraldique, une devise est souvent représentée dans des armoiries, la plupart du temps sur un listel situé au-dessous de l'écu.
Voici quelques devises :
Je me souviens est la devise du Québec ;
Je maintiendrai est la devise des Pays-Bas ;
Yurtta sulh, cihanda sulh ou Yurtta barış, dünyada barış, devise de la
Turquie, signifiant : « paix dans le pays, paix dans le monde »;
Fluctuat nec mergitur (« Il flotte mais ne sombre pas») est la devise de Paris ;
Por mi raza hablará el espíritu (« Par ma race parlera l'esprit ») est la devise de l'
Université nationale autonome du Mexique, proposé par José Vasconcelos ;
Dieu et mon droit, devise du souverain du Royaume-Uni et Honni soit qui mal y pense, devise inscrite sur la Jarretière qui entoure l'écusson des armoiries royales ;
Utinam (en
latin) « Plaise à Dieu », devise de la ville de Besançon ;
Kentoc'h mervel eget bezañ saotret, ("Plutôt la mort que la souillure") est la devise de la
Bretagne ;
Plus ultra, expression latine signifiant « toujours plus au-delà », est la devise de l'Espagne ;
A mari usque ad mare, expression latine signifiant « D'un océan à l'autre », est la devise du Canada ;
Citius altius fortius, devise en
latin des Jeux olympiques signifiant : « Plus vite, plus haut, plus fort » ;
Hic et ubique terrarum, devise en
latin de l'Université de Paris signifiant : « Ici et partout sur la terre » ;
Ut tensio sic vis, devise en
latin (loi de Hooke) de l'École Polytechnique de Montréal, signifiant : « Telle extension, telle force » ou bien en termes modernes « l'allongement est proportionnel à la force »;
In God We Trust, devise en anglais des États-Unis signifiant : « En Dieu nous croyons ».
คำขวัญ
หมายถึง ถ้อยคำ ข้อความ คำคล้องจอง หรือบทกลอนสั้นๆ เพื่อให้จำได้ง่าย โดยอาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภทดังนี้
ถ้อยคำหรือข้อความ ที่แต่งขึ้นเพื่อเป็นเครื่องเตือนใจ แสดงอุดมคติ หรือเป้าหมายของกลุ่มหรือองค์กรนั้นๆ เช่น
คำขวัญวันเด็ก คำขวัญประจำโรงเรียน เป็นต้น
ถ้อยคำหรือข้อความ ที่แต่งขึ้นมาเพื่อบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ คุณสมบัติ ความโดดเด่น เช่น
คำขวัญประจำจังหวัด
ทั้งนี้ยังอาจใช้
คำคม หรือพุทธพจน์ มาเป็น คำขวัญ ก็ได้ เช่น "อตฺตานํ ทมยนฺติ ปณฺฑิตา" (บัณฑิตย่อมฝึกตน), "รกฺเขยฺย อตฺตโนสาธุงฺ ลวณํ โลนตํ ยถา" (พึงรักษาความดีไว้เหมือนเกลือรักษาความเค็มฉันนั้น)
อนึ่ง ยังมี "คำขวัญ" อีกความหมายหนึ่ง ที่ไม่ปรากฏการใช้ในปัจจุบัน นั่นคือ "คำขวัญ" ที่มีความหมายในปัจจุบันว่า
โอวาท เช่น คำขวัญ ของคณบดีคณะต่าๆ ที่ปรากฏในหนังสืออนุสรณ์บัณฑิต 2503 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นข้อความกึ่งสุนทรพจน์ มีความยาวมากกว่า คำขวัญ ใน 2 ความหมายข้างบน

13 มีนา วันช้างไทย



ที่มาของวันช้างไทย
วันช้างไทยเกิดจากการริเริ่มของคณะอนุกรรมการประสานงานการอนุรักษ์ช้างไทย ซึ่งเป็นหน่วยงานประสานงาน องค์การภาครัฐและเอกชนที่ทำงานเกี่ยวกับการอนุรักษ์ช้างไทยคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เนื่องจากเล็งเห็นว่าหากมีการสถาปนาวันช้างไทยขึ้น ก็จะช่วยให้ประชาชนคนไทย หันมาสนใจช้าง รักช้าง หวงแหนช้าง ตลอดจนให้ความสำคัญต่อการให้ความช่วยเหลืออนุรักษ์ช้างมากขึ้น
คณะอนุกรรมการฯ จึงได้พิจารณาหาวันที่เหมาะสม ซึ่งครั้งแรกได้พิจารณาเอาวันที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทำยุทธหัตถี มีชัยชนะเหนือพระมหาอุปราชา แต่วันดังกล่าวถูกใช้เป็นวันกองทัพไทยไปแล้ว จึงได้พิจารณาวันอื่น และเห็นว่าวันที่ 13
มีนาคม ซึ่งเป็นวันที่คณะกรรมการคัดเลือกสัตว์ประจำชาติ มีมติให้ช้างเผือกเป็นสัญลักษณ์ของประเทศไทยนั้นมีความเหมาะสม จึงได้นำเสนอมติตามลำดับขั้นเข้าสู่คณะรัฐมนตรี โดยได้รับการสนับสนุนจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์อีกทางหนึ่ง ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อ วันที่ 26 พฤษภาคม 2541 เห็นชอบให้ วันที่ 13 มีนาคม เป็นวันช้างไทย และได้ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีลงในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2541
ผลจากการที่ประเทศไทยมีวันช้างไทยเกิดขึ้น นับเป็นการยกย่องให้เกียรติว่าเป็นสัตว์ที่มีความสำคัญอีกครั้ง นอกเหนือจากเกียรติที่ช้างเคยได้รับในอดีต ไม่ว่าจะเป็นช้างเผือกในธงชาติ หรือช้างเผือกที่เป็นสัญลักษณ์ของประเทศ หรือสัตว์คู่พระบารมีของพระมหากษัตริย์
ความสำคัญของช้างไทย
- ช้างเป็นสัตว์คู่บารมีของพระมหากษัตริย์ไทย
ช้างเป็นสัตว์ที่ดำรงอยู่คู่กับประเทศไทยมาเป็นเวลานาน ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สยามประเทศเคยใช้ธงชาติเป็น รูปช้างเผือก ชาวไทยเชื่อกันว่าช้างเผือกเป็นสัตว์คู่บารมีของพระมหากษัตริย์ ช้างเผือกจึงได้รับการยกย่องเสมือนเจ้านายชั้นเจ้าฟ้า
- ช้างเป็นผู้ปกป้องเอกราชแห่งชาติไทย
ประวัติศาสตร์ชาติไทยได้ จารึกไว้ว่าช้างได้เข้ามามีส่วนในการปกป้องเอกราชและความเป็นชาติให้แก่ชาว ไทยหลายยุคหลายสมัย ในสมัยกรุงธนบุรีพระบาทสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชก็ทรงรวบรวมชายไทยให้เป็น ปึกแผ่นและมั่นคงบนหลังช้างทรงพระที่นั่ง และในสมัยพระบาทสมเด็จพระนเรศวรมหาราชก็ได้ทรงประกาศเอกราชและความเป็นชาติ ของคนไทยบนหลังช้างทรงพระที่นั่งด้วยเช่นกัน ซึ่งช้างทรงในสมเด็จพระนเรศวรนับว่าเป็นช้างไทยที่ได้รับเกียรติอันสูงสุด โดยจากความกล้าหาญในสมรภูมิรบ ทำให้ช้างไทยเชือกนี้ได้รับพระราชทานยศให้เป็นถึง "เจ้าพระยาปราบหงสาวดี"
- ช้างใช้ในพระราชพิธีสำคัญต่างๆ
การสร้างสรรค์วัฒนธรรมที่ ดีงามของชาติไทยในอดีตกาลนั้นล้วนแต่ได้ช้างเข้ามามีส่วนร่วมอยู่ด้วยทั้ง สิ้น เมื่อประมาณ 200 กว่าปีที่ผ่านมา ก็ได้ช้างเข้ามาเป็นแรงงานสำคัญอีกเช่นกัน เมื่อแรกเริ่มการตั้งกรุงรัตนโกสินทร์นั้นช้างคือพาหนะสำคัญที่อัญเชิญพระ พุทธมณีรัตนปฏิมากรแก้วมรกตมาสถิตย์ ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม นอกจากนี้ในงานพระราชพิธีต่างๆ อาทิ พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา งานพระราชพิธีฉัตรมงคล หรือในงานพระราชทานงานเลี้ยงเพื่อเป็นเกียรติแก่พระราชอาคันตุกะหรือประมุข ของต่างประเทศที่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท จะต้องนำช้างเผือกแต่งเครื่องคชาภรณ์ไปยืนที่แท่นเกยช้างด้านตะวันตกของพระ ที่นั่งดุสิตาภิรมย์ในพระบรมมหาราชวังเพื่อประกอบพระเกียรติยศ

วันอังคารที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2553

Peugeot

Logo de 2010

Une Peugeot Type 3 à moteur Daimler de 1891.

La Peugeot 201 permit de surmonter la crise des années 1930.

Peugeot 202 de 1938

Peugeot 403 de 1955

Peugeot est un constructeur automobile français. L'entreprise familiale qui précède l'actuelle entreprise Peugeot est fondée en 1810 à Sochaux. Le 20 novembre 1858, Émile Peugeot dépose au greffier l'empreinte de sa marque représentant un lion. L'entreprise, qui produit à l'origine des moulins à café, s'oriente en partie vers les automobiles et produit en 1891 sa première automobile devenant ainsi l'une des toutes premières entreprises automobile de l'histoire. Suite à des dissensions familiales, Armand Peugeot fonde en 1896 la
« Société des Automobiles Peugeot».
L'entreprise Peugeot appartient aujourd'hui au groupe
PSA Peugeot Citroën qui englobe également Citroën, rachetée à Michelin en 1974. Son siège social, historiquement situé à Sochaux/Montbéliard, est installé à Paris et ses bureaux d'étude et de recherche à Vélizy-Villacoublay, La Garenne-Colombes, Carrières-sous-Poissy et Sochaux/Montbéliard. En 2010, Philippe Varin et la famille Peugeot nomme conjointement Jean-Marc Gales au poste de président directeur-général de Peugeot.
Peugeot produit essentiellement des véhicules
automobiles pour particuliers et utilitaires ainsi que des deux-roues. En 2009, les ventes de l'entreprise se sont élevées à près de 1,52 millions de véhicules automobiles dans le monde, dont 1,12 millions en Europe. Via son département Peugeot Sport, Peugeot est également engagé en compétition automobile et notamment en endurance.

Corse

Photosatellite de la Corse (NASA)

Le golfe de Porto, patrimoine mondial de l'UNESCO

La Corse (Corsica en corse) est une île en mer Méditerranée et une région française, ayant toutefois un statut spécial, composée de deux départements : la Corse-du-Sud (2A) et la Haute-Corse (2B). Elle est aujourd'hui surnommée Île de Beauté. Les grecs l'appelait Kallisté (en grec ancien Καλλίστη : « la plus belle »).
Site et situation
La Corse est située à 200 km environ au sud-est de la Côte d'Azur, à l'ouest de la Toscane et au nord de la Sardaigne. Île plutôt boisée et montagneuse, sa côte méridionale est formée de hautes falaises (Bonifacio).
La distance la plus courte entre la France continentale et l'ile, de
Cap Martin à la pointe de la Revellata (voir La presqu'île de la Revellata), est de 160 km, et l'île est située à moins de 90 km de l'Italie continentale.
La Corse se situe avec la
Sardaigne sur une microplaque continentale séparée de celle de la France ou de l'Italie, et appelée bloc corso-sarde.
La distance entre le point Nord et le point Sud de la Corse est de 182 kilomètres.

Environnement
Bien que de nombreuses espèces endémiques aient disparu lors de la préhistoire ou peu après, comparativement au continent et aux îles bretonnes, la Corse bénéficie d'un environnement relativement préservé, tant sur terre que sur la côte et en mer.
L'île abrite un parc marin international, des réserves naturelles (de Scandola, Finocchiarola, Biguglia, Cerbicale, Bouches de Bonifacio et Tre Padule de Suartone) et le
Parc naturel régional de Corse, et des zones communautaire pour les oiseaux. Un observatoire conservatoire des insectes de Corse vise à conserver les espèces patrimoniales et de la biodiversité ordinaire. Le risque d'incendie constitue une menace pour la biodiversité, alors que (en 2006) plus de 50 % des dégâts découleraient de 12 % des mises à feu liées aux pratiques d'entretien de pâturages ou chemins et zones de chasse. 15 % des incendies seraient dus à la foudre, mais n'étant responsable que de 1% des destructions (en surface). Durant la canicule de 2003, près de 20 000 ha ont brûlé avec environ 500 mises à feu, le problème des incendies pourrait croître avec le réchauffement climatique.
L’Assemblée de Corse (loi du 13 mai 1991) bénéficie d'une compétence particulière en Environnement, avec un
Office de l'Environnement de la Corse et un Observatoire de l'Environnement.
Festival du civisme écologique, Terra e Natura de Bastia a pour objectif de sensibiliser et d'informer sur les solutions existantes pour modifier nos comportements afin de préserver notre planète.